รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้า เดินสายไฟเขตจตุจักร
ติดต่อสอบถาม ยินดีให้คำปรึกษา :
ขอบเขตบริการของเราสำหรับงาน ติดตั้งระบบไฟฟ้าเขตจตุจักร
1.รับเขียนแบบระบบไฟฟ้า จัดทำแบบระบบไฟฟ้า พร้อม เซนต์รับรองแบบ โดยวิศวกร กว. ทั้งระดับภาคี และสามัญ
2.วางระบบไฟฟ้าเขตจตุจักร
– รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงานเขตจตุจักร
– รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงพยาบาลเขตจตุจักร
– รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโครงการหมู่บ้านต่างๆเขตจตุจักร
– รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้าเขตจตุจักร
– รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าคอนโดมิเนียมเขตจตุจักร
– รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าที่อยู่อาศัยเขตจตุจักร
– รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าสำนักงานเขตจตุจักร
– รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าสถานที่อื่น ๆ เขตจตุจักร
สอบถามได้ที่ :
โทร: 094-892-4241
Line ID: @auf5563z
3.รับเหมาเดินสายไฟเขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟร้อยท่อเขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟเขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟ 3 เฟสเขตจตุจักร
– wire way เขตจตุจักร
– Ladder เขตจตุจักร
– Cable tray เขตจตุจักร
– Wire duct เขตจตุจักร
– เดินสายท่อคอนดูด ท่อเฟล็กซ์ ร้อยท่อ HDPE เขตจตุจักร
- รับเหมาเดินสายไฟโรงพยาบาล เขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟโครงการหมู่บ้านต่างๆ เขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้า เขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟคอนโดมิเนียม เขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟที่อยู่อาศัย เขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟสำนักงาน เขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟสถานที่อื่น ๆ เขตจตุจักร
– รับงานเดินไฟฟ้า ภายในอาคาร ที่อยู่อาศัย ปรับปรุงซ่อมแซมระบบไฟฟ้า เขตจตุจักร
– รับเหมางานเดินสายไฟ และติดตั้งโคมไฟ สวิตช์ ปลั๊ก และ อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกประเภท เขตจตุจักร
– รับเหมาเดินสายไฟทุกประเภท ทั้งภายในและภายนอก เขตจตุจักร
รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้า เดินสายไฟเขตจตุจักร
4. รับเหมาติดตั้งระบบสายล่อฟ้า ระบบกราวด์ และอุปกรณ์ไฟฟ้ากันระเบิด Explosion proof เขตจตุจักร
5. รับเหมาติดตั้ง/ซ่อมหม้อแปลงไฟฟ้า เขตจตุจักร
– ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟส เขตจตุจักร
6.รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงสูง เขตจตุจักร
7. รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงต่ำ เขตจตุจักร
8. รับประมูลงานติดตั้งระบบไฟฟ้า เขตจตุจักร
9. รับเหมาติดตั้งเสาไฟฟ้า ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ติดตั้งโคมไฟในอาคารและโคมไฟรอบอาคารโรงงานเขตจตุจักร
10. รับซ่อมบำรุงระบบไฟฟ้า ในงานอุตสาหกรรม เขตจตุจักร
11. รับออกแบบสร้างและติดตั้งตู้ควบคุมไฟฟ้า (MDB) ระบบคอนโทรล PLC, ตู้สวิตช์เกียร์ ตู้แคปแบงค์ ระบบ ATS, ระบบควบคุมกระแสไฟ Stabilizer และระบบสำรองไฟฟ้า UPS เขตจตุจักร
12. รับตรวจสอบระบบไฟฟ้าตามกฎหมาย เซ็นรับรองระบบไฟฟ้า (ก.ว.) ตรวจสอบระบบ Ground ระบบไฟฟ้าโรงงาน เขตจตุจักร
สำหรับท่านที่ต้องการตรวจสอบระบบไฟฟ้า ว่าควรจะตรวจสอบอะไรบ้าง เราขอนำเสนอ
การตรวจสอบระบบไฟฟ้าที่สำคัญ 5 รายการ
1.ตู้เมน สวิตช์
อุณหภูมิของอุปกรณ์
สายดินของแผงสวิตช์
จุดต่อสายและจุดต่อบัสบาร์
(Single Line Diagram) ของเมนสวิตช์
เครื่องป้องกันกระแสเกิน
สภาพของจุดสายต่อ
การต่อลงดิน
2.ระบบแรงสูง
สภาพของจุดสายต่อ
การต่อลงดิน
สายอากาศ
สภาพเสา
สายยึดโยง (Guy Wire)
การติดตั้งล่อฟ้า
การประกอบอุปกรณ์หัวเสา
3.แรงต่ำภายในอาคาร
อุณหภูมิของอุปกรณ์
การป้องกันความร้อนเหนี่ยวนำ
สภาพฉนวนสายไฟ
วงจรเมน (Main Circuit)
สายเข้าเมนสวิตช์
รางเดินสายและรางเคเบิล
สภาพจุดต่อของสายไฟ
4.หม้อแปลง
สภาพหม้อแปลงภายนอก
สายดินกับตัวถังหม้อแปลงและล่อฟ้า แรงสูง
การป้องกันการสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้า
เครื่องป้องกันกระแสเกินด้านไฟเข้า
การต่อสายแรงต่ำและแรงสูงที่หม้อแปลง
การติดตั้งล่อฟ้าแรงสูง
การติดตั้งดรอปฟิวส์คัตเอาท์
สายดินของหม้อแปลง
5.การติดตั้งเครื่องปลดวงจรต้นทาง
สวิตช์ตัดตอน (Disconnecting Switch)
ดรอปฟิวส์คัทเอ้าท์
RMU
สายไฟฟ้า
สายไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส่งพลังงานไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยกระแสไฟฟ้าจะเป็นตัวนำพลังงานไฟฟ้าผ่านไปตามสายไฟจนถึงเครื่องใช้ไฟฟ้า สายไฟทำด้วยสารที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ เรียกว่าตัวนำไฟฟ้า และตัวนำไฟฟ้าที่ใช้ทำสายไฟเป็นโลหะที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ดี ลวดตัวนำแต่ละชนิดยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ต่างกัน ตัวนำไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากเรียกว่ามีความนำไฟฟ้ามากหรือมีความต้านทานไฟฟ้าน้อย ลวดตัวนำจะมีความต้านทานไฟฟ้าอยู่ด้วย โดยลวดตัวนำที่มีความต้านทานไฟฟ้ามากจะยอม ให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้น้อย
ประเภทของสายไฟฟ้า
สายไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 จำพวกคือสายไฟแรงดันต่ำ และ สายไฟแรงดันสูง
1.สายไฟฟ้าแรงดันต่ำ (Low Voltage Power Cable)
เป็นสายไฟที่ใช้กับแรงดันไม่เกิน 750 โวลต์ เป็นสายหุ้มฉนวน ทำด้วยทองแดงหรืออะลูมิเนียม โดยทั่วไปเป็นสายทองแดงสายขนาดเล็กจะเป็นตัวนำเดี่ยว แต่สายขนาดใหญ่เป็นตัวนำตีเกลียว วัสดุฉนวนที่ใช้กับสายแรงดันต่ำคือ Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross-Linked Polyethylene (XLPE)
สาย IEC-01
สายไฟฟ้าตาม มอก.11-2531 ที่ในท้องตลาดนิยมเรียกว่า ทีเอชดับเบิลยู (THW) เป็นสาย ไฟฟ้าชนิดทนแรงดัน 750 โวลต์ เป็นสายเดี่ยว นิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะใน โรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากใช้ในวงจรไฟฟ้า 3 phase ได้ ปกติจะเดินร้อยในท่อร้อยสาย ชื่อ THW เป็นชื่อตามมาตรฐานอเมริกัน ซึ่งเป็นสายชนิดทนแรงดัน 600 โวลต์ อุณหภูมิใช้งานที่ 75 องศาเซลเซียส แต่ในประเทศไทยนิยม เรียกสายที่ผลิตตาม มอก. 11 -2531 ว่า สาย THW เนื่องจากมีโครงสร้างคล้ายกันและรู้กันทั่วไปในท้องตลาด
การใช้งาน
เดินลอย ต้องยึดด้วยวัสดุฉนวน
เดินในช่องเดินสาย
ห้ามเดินฝังดิน
สาย VAF
สายไฟตาม มอก.11-2531 ที่ตามท้องตลาดเรียกว่า สายชนิด วีเอเอฟ (VAF) เป็นสายที่นิยมใช้กันมากตามบ้านในประเทศไทย เป็นสายชนิด ทนแรงดัน 300 โวลต์ มีแบบสายคู่ และที่มีสายดินอยู่ด้วย มีชนิด 2 แกน หรือ 3 แกน เป็นสายแบน ตัวนำนอกจากจะมีฉนวนหุ้ม แล้วยังมีเปลือกหุ้มอีกชั้นหนึ่ง สายคู่จะนิยมรัดด้วยเข็มขัดรัดสาย(Clip) ใช้ในบ้านอยู่อาศัยทั่วไป สายชนิดนี้ห้ามใช้ในวงจร 3 phase ที่มีแรงดัน 380 โวลต์ (ในระบบ 3 phase แต่แยกไปใช้งานเป็นแบบ 1 phase แรงดัน 220 โวลต์ จะใช้ได้)
การใช้งาน
เดินเกาะผนัง
เดินในช่องเดินสาย ในสถานที่แห้ง
ห้ามเดินฝังดินโดยตรง
สาย VCT
เป็น สายชนิดทนแรงดัน 300 โวลต์มีทั้งชนิดเป็นสายเดี่ยวสายคู่และที่มีสายดินอยู่ด้วย ถ้าเป็นสายเดี่ยวจะเป็นสายกลมและถ้าเป็นชนิด 2 แกนหรือ 3 แกนจะเป็นสายแบน ตัวนำนอกจากจะมีฉนวนหุ้มแล้วยังมีเปลือกหุ้มอีกชั้นหนึ่งสายคู่จะนิยมเดิน ตามฝาผนังด้วยเข็มขัดรัดสาย (Clip) หรือเดินในช่องเดินสาย แต่ห้ามเดินฝังดินโดยตรง การจะเดินสายประเภทนี้ใต้ดินจะต้องเดินในท่อฝังดินที่มีการป้องกันน้ำซึม เข้าท่อ ใช้ในบ้านอยู่อาศัยทั่วไปสายชนิดนี้ห้ามใช้ในวงจร 3 เฟสที่มีแรงดัน 380 โวลต์เช่นกัน (ในระบบ3เฟสแต่แยกไปใช้งานเป็นแบบ1 เฟสแรงดัน 220 โวลต์จะใช้ได้)
การใช้งาน
ใช้งานทั่วไป ต่อเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้าเช่นสว่านไฟฟ้า หรือเดินสายเข้าเครื่องจักรขนาดใหญ่ที่เคลื่อนที่ได้
สาย NYY
สายไฟฟ้าตาม มอก.11-2531 ตามท้องตลาดนิยมเรียกว่าสายชนิด เอ็นวายวาย (NYY) มีทั้งชนิดแกนเดียว และหลายแกนสายหลายแกน ก็จะเป็นสายชนิดกลมเช่นกัน สายชนิดนี้ทนแรงดันที่ 750 โวลต์ นิยมใช้อย่างกว้างขวางเช่นกัน เนื่องจากว่ามี ความทนต่อสภาพแวดล้อม เพราะมีเปลือกหุ้มอีกชั้นหนึ่ง บางทีเรียกว่าเป็นสายฉนวน 3 ชั้น ความจริงแล้วสายชนิดนี้มีฉนวนชั้นเดียว อีกสองชั้นที่เหลือเป็นเปลือกเปลือกชั้นในทำหน้าที่เป็นแบบ (Form) ให้สายแต่ละแกนที่ตีเกลียวเข้าด้วยกันมีลักษณะกลม แล้วจึงมีเปลือกนอกหุ้ม อีกชั้นหนึ่งทำหน้าที่ป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
การใช้งาน
ใช้งานทั่วไป เดินสายกับระบบ cable tray
เดินสายไฟฟ้าฝังดินได้โดยตรง
2. สายไฟฟ้าแรงดันสูง (High Voltage Power Cable)
เป็นสายตีเกลียวมีขนาดใหญ่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ สายเปลือย และสายหุ้มฉนวน
สายเปลือย
สายอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย (AAC).
สายอะลูมิเนียมผสม (AAAC)
สายอะลูมิเนียมแกนเหล็ก (ACSR)
สายหุ้มฉนวน
สาย Partial Insulated Cable (PIC)
สาย Space Aerial Cable (SAC)
สาย Preassembly Aerial Cable
สาย Cross-linked Polyethylene (XLPE)
สายไฟฟ้าที่ผลิตตามมาตรฐานอื่น
หมายถึง สายไฟฟ้าที่ไม่ได้ผลิตตามมาตรฐาน มอก 11-2531 จึงเป็นสายไฟฟ้าทองแดง ที่หุ้มฉนวนชนิดอื่น ที่นอกเหนือไปจากฉนวนชนิด PVC เช่น
ครอสลิงก์โพลีเอททีลีน (Cross-Linked Polyethylene) นิยมเขียนเป็นอักษรย่อว่า XLPE มีคุณสมบัติพิเศษคือ ทนอุณหภูมิได้สูง และมีความแข็งทนต่อแรงเสียดสีได้ดี
สายที่ผลิตตามมาตรฐาน JIS C-3606 เป็นสายชนิดทนแรงดัน 600 โวลต์ เป็นตัวนำทองแดง อุณหภูมิใช้งานของฉนวน 90 องศาเซลเซียส เรียกว่าสายไฟฟ้าชนิด CV ซึ่งมีขนาดกระแสสูงกว่าสายตาม มอก. 11-2531 ที่ขนาดเดียวกันและวิธีการเดินสายเหมือนกัน เนื่องจากสายมีอุณหภูมิใช้งาน 90 องศาเซลเซียส ขั้วสายและเครื่องอุปกรณ์ที่สายชนิดนี้ต่ออยู่ ก็ต้องเป็นชนิดที่ออกแบบให้ใช้งานได้ 90 องศาเซลเซียส ด้วยเช่นกัน (หรือทำการลดค่าของกระแสของสายไฟฟ้าลงมา) สายชนิดนี้มีทั้ง แกนเดียวและหลายแกน (Multi-Core) มีเปลือกนอก เพื่อป้องกันความเสียหาย ทางกายภาพ จึงใช้งานได้ทั่วไป รวมทั้งใช้เดินฝังดินโดยตรง
ขอบคุณที่มา wikipedia ระบบไฟฟ้า